อาจารย์ ดร. พลภัทร บุราคม
 ศาสตราจารย์ ดร. พลภัทร บุราคม
อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ถ.เสรีไทย บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท์: 0-2727-3891
โทรสาร: 0-2374-4977
อีเมล: ponlapat.b@gmail.com
การศึกษา
  • พ.ศ. 2530 Ph.D. (Political Science and Political Economy), Northwestern University, U.S.A.
  • พ.ศ. 2525 M.A. (Political Science and Political Economy), Northwestern University, U.S.A.
  • พ.ศ. 2522 ร.บ. (รัฐศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการทำงาน/รับราชการ
  • ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 10 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ เมื่อวันที่ 15 เดือน เมษายน พ.ศ. 2531
  • ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 27 เดือน กันยายน พ.ศ. 2533
  • ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 9 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2541
  • ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ เมื่อวันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
    – อายุการทำงาน/ราชการ 25 ปี
  • กรรมการสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์
    สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา (หลักสูตรนานาชาติ) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2550 – 2559
  • อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน
  • บรรณาธิการบริหารของ Thai Journal of Public Administration (TCI กลุ่ม1) (TJPA) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน
  • กรรมการคณะกรรมการศึกษานานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
    พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน
  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน
  • กรรมการกองทุนเพื่อการวิจัยและการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2548 – 2553
  • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2545 – 2547
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2535 – 2545
  • กรรมการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2533 – 2536
รางวัลที่เคยได้รับ
  •  Certificate of Appreciation ในการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ The National College of Public Administration and Governance, University of the Philippines พ.ศ. 2549
  • Certificate of Appreciation ในการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ The National College of Public Administration and Governance, University of the Philippines พ.ศ. 2552
  • เหรียญตราเชิดชูเกียรติ (xyBbcRJI – 90) แก่บุคคลผู้ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกับประเทศมองโกเลีย National Academy of Governance ประเทศมองโกเลีย พ.ศ. 2552
  • อาจารย์ดีเด่น ปอมท. กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ ประจำปี 2556 ที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) พ.ศ. 2556
  • รางวัลผลงานวิจัย รางวัลระดับดีสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ประจำปี 2556 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    (วช.) พ.ศ. 2556
ทุนวิจัยที่เคยได้รับ
  • พ.ศ. 2558 ทุนส่งเสริมการวิจัยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ (หัวหน้าโครงการวิจัย)คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • พ.ศ. 2556 ทุนส่งเสริมการวิจัยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  •  พ.ศ. 2555 ทุนส่งเสริมการวิจัยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • พ.ศ. 2554 ทุนส่งเสริมการเขียนตำรา รัฐประศาสนศาสตร์(หัวหน้าโครงการวิจัย) คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • พ.ศ. 2554 ทุนโครงการความร่วมมือการเขียนตำราด้าน Public Administration in Southeast Asia(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัยในส่วนของ PublicAdministration ในประเทศไทย)
    Joint Funding ระหว่าง National Chengchi University และ University of Hong Kong
  • พ.ศ. 2551–2552 ทุนโครงการความร่วมมือทำการวิจัย ระหว่าง Division of Public Administration, U.S.A. และคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(โดยเป็นผู้ประสานงานในการรับทุนวิจัยและที่ปรึกษาโครงการวิจัย) Northern Illinois University Research Fund และทุนส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ผลงานทางวิชาการ

งานแต่ง เรียบเรียง แปล หนังสือ/ตำรา จำนวน 4 เรื่อง

  • Ponlapat Buracom, Ploy Suebvises and Thanapan Laiprakobsub. (2015). Public Finance and Governance Reform Initiatives for Inclusive Development in ASEAN ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Sukhumvit Printing
  • พลภัทร บุราคม. (2558). เรื่องการปฏิรูปการคลังและธรรมาภิบาล เพื่อการพัฒนาที่ทั่วถึงในอาเซียน (Chapter) (50%) (ได้รับการเผยแพร่เรียบร้อยแล้วใน ตำรา รัฐประศาสนศาสตร์ ในประชาคมอาเซียนด้านการคลังและองค์การ. กรุงเทพ: บริษัท สุขุมวิทการพิมพ์.): 45-234) Pubic Finance and Governance Reform Initiatives for Inclusive Development in ASEAN (33.33% และมีผู้มีส่วนร่วม 3 คน) (ได้รับการเผยแพร่เรียบร้อยแล้วใน สำนักพิมพ์ SukhumvitPrnting, 2558
  • พลภัทร บุราคม. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงและการกระจาย ผลประโยชน์ของรายจ่ายสาธารณะในประเทศไทย กรุงเทพฯ : ดีเคปริ๊นติ้งเวิลด์ (ตำราที่ปรับปรุงจากผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัล ผลงานวิจัยระดับดี ในสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ จากสภาวิจัยแห่งชาติประจำปี 2556)
  • พลภัทร บุราคม. (2554). รายจ่ายสาธารณะ : ประสิทธิภาพในการจัดสรรและประสบการณ์ระหว่างประเทศ กรุงเทพฯ : ดีเคปริ๊นติ้งเวิลด์
ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ (Full papers) จำนวน 3 เรื่อง

  • Joseph Ato Forson/ Theresa Yaaba Baah-Ennumh/ Ponlapat Buracom/Guojin Chen/Zhen Peng. (2016). Causes of corruption: Evidence from sub-Saharan Africa. South African Journal of Economic and Management Sciences On-line version ISSN 2222-3436. Print version ISSN 1015-8812. S. Afr. j. econ. manag. sci. vol.19 n.4 Pretoria 2016 (Scopus)
  • Ponlapat Buracom. (2016). The Distributional Effects of Social Spending in Thailand: Evidence from a New database, Asian Politics and Policy: 263-279 (Scopus).
  • Ponlapat Buracom. (2014). ASEAN Economic Performance, Institutional Effectiveness, and Foreign Direct Investment Asian Affairs: An American Review. 41 ( 3. ):. 108–126. (H.W-Wilson)

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในประเทศ (Full papers) จำนวน 3 เรื่อง

  • Ponlapat Buracom. (2016). The Growth and Development Effects of Public Education, Health, and Welfare Spending in ASEAN, Thai Journal of Public Administration, 14, ( 2): 9-48. (TCI กลุ่ม1)
  • Ponlapat Buracom. (2014). Democratic Governance Reform in Budget Approval: Perspectives from the members of the House of Representatives in Thailand, Thai Journal of Public Administration (TCI กลุ่ม1)
  • พลภัทร บุราคม. (2554). บทบาทของสภากรุงเทพมหานครในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์.9(2) : 13–66. (TCI กลุ่ม1)

ผลงานวิจัยนำเสนอในประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (proceedings)

  • Ponlapat Buracom. (2015). Government Institute, Globalization, and The Development Effects of Social Policy Expenditure in ASEAN paper present at 2015 International Conference on Public Administration & Sufficiency Economy Philosophy, Bangkok, September 2, 2015
  • Ponlapat Buracom. (2014). The Distributional Effects of Social Spending in Thailand: Evidence from a New Database paper presented at World Conference for Public Administration, organized by Korean Association of Public Administration, Daegu, South Korea

ผลงานวิจัยนำเสนอในประชุมวิชาการระดับชาติ (proceedings)

  • พลภัทร บุราคม. (2560). ธรรมาภิบาลกับการพัฒนาที่ยั่งยืนในอาเซียน Governance and Sustainable Development in ASEAN บทความเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2560 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา : จากปรัชญาสู่การปฏิบัติ จัดโดย สำนักวิจัย สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์. วันที่ 31 มีนาคม 2560
  • พลภัทร บุราคม. (2558). Government Institutions, Globalization, and the Development Effects of Social Policy Expenditure in ASEAN ประเด็น Globalization and Government บทความเสนอในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครบรอบ 60 ปีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วันที่ 2 กันยายน 2558
  • พลภัทร บุราคม. (2557). ASEAN Economic Performance, Institutions, Trade and FDI บทความเสนอในการประชุมวิชาการระดับประเทศ เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบรัฐประศาสนศาสตร์ในกลุ่มประชาคมอาเซียน จัดโดย คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประสบการณ์การวิจัย
  • ค.ศ. 2016 ธรรมาภิบาลกับการพัฒนาที่ยั่งยืนในอาเซี่ยน งานวิจัยนำเสนอในการประชุมวิชาการครบรอบ 51 ปี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
  • ค.ศ. 2015 Public Finance and Governance Reform Initiatives for Inclusive Growth in
    ASEAN, Research paper, Graduate School of Public Administration National Institute of Development Administration
  • ค.ศ. 2014 ASEAN Economic Integration: A Comparative Assessment of Macroeconomic Performance, Institutional Quality, Trade and Foreign Direct Investment Research Paper, Graduate School of Public Administration, National Institute of Development Administration
  • พ.ศ. 2554. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายสาธารณะ และการกระจาย
    ผลประโยชน์ของรายจ่ายสาธารณะในประเทศไทย (หัวหน้าโครงการ) เสนอต่อ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • พ.ศ. 2553. ธรรมมาภิบาลประชาธิปไตยในการพิจารณาอนุมัติงบประมาณของสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย (หัวหน้าโครงการ) เสนอต่อ สำนักงบประมาณ
  • พ.ศ. 2551. รายจ่ายสาธารณะ : ประสิทธิภาพในการจัดสรรและประสบการณ์ระหว่างประเทศ(หัวหน้าโครงการ) เสนอต่อคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
    ศาสตร์
  • พ.ศ. 2546 การจัดทำงบประมาณในระบบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย :
    กรณีศึกษาการพิจารณา อนุมัติงบประมาณประจำปีของสภากรุงเทพมหานคร
    (หัวหน้าโครงการ) รายงานการวิจัย ด้านเงินอุดหนุนของ คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • พ.ศ. 2540 การวิเคราะห์รายจ่ายสาธารณะ (หัวหน้าโครงการ) เสนอต่อ
    คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • พ.ศ. 2538 นโยบายการคลังกับปัญหาการว่างงาน : การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสังคม
    อุตสาหกรรมตะวันตก กับสังคมไทย (หัวหน้าโครงการ) เสนอต่อ กระทรวงการคลังงานบริการ/งานบริการทางวิชาการ
ผลงานบริการวิชาการ

การเป็นวิทยากรในการประชุมทางวิชาการในประเทศ

  • วิทยากรในการประชุมวิชาการ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบรัฐประศาสนศาสตร์ในประชาคมอาเซี่ยน จัดโดยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2557
  • วิทยากรในการประชุมวิชาการ เรื่อง พัฒนบริหารศาสตร์กับความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจจัดโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2553
  • วิทยากรในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การสอนและการวิจัยด้านรัฐประศาสนศาสตร์
    จัดโดย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 เมษายน พ.ศ. 2551
  • วิทยากรในการสัมมนาทางวิชาการในโอกาสครบรอบการสถาปนาสถาบันครบ 49 ปี
    ในหัวข้อ Development Administration, Globalization and SustainableDevelopment ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558

การเป็นวิทยากรในการประชุมทางวิชาการต่างประเทศรวม

  • วิทยากรในการประชุมทางวิชาการ เรื่อง Contemporary Leadership Issues and Management Challenges ประเทศมองโกเลีย September 23–24, 2009
  • วิทยากรในการประชุมทางวิชาการระหว่างประเทศ 2011 Eastern Regional Organization for Public Administration Conference, Bangkok, Thailand
  • วิทยากรในการประชุมทางวิชาการนานาชาติ เรื่อง Democratic Governance : Opportunities and Challenges ประเทศมองโกเลีย September, 21–22,2011
  • วิทยากรในการประชุมทางวิชาการนานาชาติ 2012 Eastern Regional Organization for Public Administration Conference in Jarkata, Indonesia
  • วิทยากรในการประชุมวิชาการนานาชาติ 2013 Eastern Regional Organization for Public Administration in Tachikawa, Japan
  • วิทยากรในการประชุมวิชาการนานาชาติ 2014 World Conference for Public Administration in Daegue city, South Korea
  • ผู้ดำเนินการอภิปรายในการสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ เรื่อง Public Administration & Sufficiency Economy Philosophy September 2, 2015, Bangkok, Thailand
    การเป็นกรรมการประเมินผลงานทางวิชาการรวม
  • ประเมินรายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาเชิงประจักษ์ของความเชื่อมโยงระหว่าง ปัจจัยทางการเมืองกับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลไทย ของสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ประเมินบทความทางวิชการ เรื่อง The Distribution of Education Expenditures in Thailand : An Analysis of Policy Determinants เพื่อตีพิมพ์ ใน International Journal of Public Policy (IJPP) ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • ประเมินบทความทางวิชาการ เรื่อง ความเหลื่อมล้ำทางการคลัง และการจัดสรรรายจ่าย เพื่อความเสมอภาค เพื่อลงตีพิมพ์ในวารสาร Thai Journal of Public Administration (TCI กลุ่ม1) (TJPA)
  • ผู้ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาเชิงประจักษ์ของความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทางการเมืองกับการจัดสรรงบประมาณในระดับกระทรวงของรัฐบาล ไทย ของสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ประเมินบทความ เรื่อง Fiscal Decentralization in India : A Lesson For Thailand เพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารพัฒนบริหารศาสตร์ (TCI กลุ่ม1)
  • ประเมินบทความ เรื่อง วิเคราะห์บทบาทของรัฐในการกระจายการถือครองที่ดินใน ภาคการเกษตรอย่างเป็นธรรม เพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารพัฒนบริหารศาสตร์ (TCI กลุ่ม1)
  • ประเมินบทความ เรื่อง กลยุทธ์การปรับตัวทางการเงินการคลังของเทศบาลในช่วง วิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารพัฒนบริหารศาสตร์ (TCI กลุ่ม1)
  • ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย เรื่อง Social Welfare Systems for a Secured and Sustainable Society in Asia : Two Cases from Thailand and Nepal. ของสำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ประเมินผลงานตำแหน่งวิชาการ (ผศ.) คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ประเมินผลงานตำแหน่งวิชาการ (ผศ.) มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง
  • ประเมินผลงานตำแหน่งวิชาการ (ผศ.) มหาวิทยาลัยศรีนคิรนทรวิโรฒ
  • ประเมินบทความ เรื่อง The Rule of Free Trade Area and The Thai Agricultural Sector’s Fair Share of Revenue
  • ประเมินบทความทางวิชาการ เรื่อง วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิภาพขององค์การราชการเพื่อลงในวารสารพัฒนาสังคม
  • ฯลฯ

การบริการชุมชนรวม

  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2553
  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2554
  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2555
  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2556
  • กรรมการฝ่ายวิชาการของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนักบริหารการฑูต กระทรวงการต่างประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2557
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง การประเมินการดำเนินงานของคณะทำงานพิจารณาการเปิดเสรีการค้าบริการให้อาเซียน ของนาง ศศิพันธ์ พรรณรายน์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการคลัง
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง ภาษีสรรพสามิตรถยนต์กับการรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน ของนายสุพจน์ ศักดิ์พิบูลย์ สำนักกฎหมาย กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง บทบาทของภาษีสุราของไทยในเวทีอาเซียน. ของนายณัฐกร อุเทนสุต สำนักแผนภาษี กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง.
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง การจัดการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรที่ ประเทศโอมาน์ ของ นางสาวรัศมี คุ้มไพโรจน์ อัครราชฑูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงมัสกัต.
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง สินค้าฮาลาลไทยในประเทศอินโดนีเซีย : ลู่ทางโอกาสและความท้าทาย ของนายอภิรัตน์ สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง อัครราชฑูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงจาการ์ตา
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง โอกาสทางการค้าของ SMEs ไทย ในตลาดสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ ของ นางสาวฉัตรสินี วุฒิมานานนท์ อัครราชฑูตที่ปรึกษา สถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงอาบูดาบี
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง การสร้างเครือข่ายสหกรณ์ใน ASEAN ของนายภานุวัฒน์ ณ นครพนม กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง การพัฒนางานด้าน ชั่ง ตวง วัด ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล เพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC ของนายจรินทร์ สุทธนารักษ์ ผู้อำนวยการสำนักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์
  • ที่ปรึกษางานวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง การบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ของนายแพทย์ธานินทร์ สีวราภรณ์สกุล ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลนครนายก กระทรวงสาธารณสุข
  •  ฯลฯ
งานด้านการส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างคณะรัฐประศาสนศาสตร์ กับNati onal Academy of Governance ประเทศมองโกเลีย ส่งผลให้มีการจัด ประชุมทางวิชาการระหว่างประเทศร่วมกัน 2 ครั้ง ในปี 2009 และ 2011 และ มีการแลกเปลี่ยนคณาจารย์ ระหว่าง 2 สถาบันหลายครั้ง
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือในการทำวิจัยร่วมกันระหว่าง Division of Public Administration, Northern Illinois University. U.S.A. และคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งผลให้เกิดงานวิจัยร่วมกัน 1 เรื่อง ในด้าน Democratic Accountability in Thai Local Government
  • เป็น Country coordinator ในการเขียนตำราระหว่างประเทศ เรื่อง Public Administration in Southeast Asia โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง National Chengchi University (Taiwan), University of Hong Kong, University of the Philippines, University of Malaya และคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง National Chengchi University (Taiwan) ส่งผลให้มีการทำ MOU ระหว่างกันและมีนักศึกษาแลกเปลี่ยน จาก NCCU มาร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่จัดขึ้นโดยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ 2 ครั้ง ในปี 2554 และ 2555.
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง Faculty of Social Sciences,National University of Laos ประเทศ สปป.ลาว และคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งผลให้มีการทำ MOU ระหว่างกันและมีการส่งคณาจารย์จาก FSS เข้ามาสมัครเรียนในหลักสูตรปริญญาเอกของคณะรัฐ-ประศาสนศาสตร์
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง University of Social Sciences and Humanities, National Vietnam University ประเทศเวียดนาม กับ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งผลให้มีการทำ MOU ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกัน และมีการส่งคณาจารย์มาเรียนในหลักสูตรปริญญาเอกของคณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง Hong Bang University ประเทศเวียดนาม กับคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งผลให้มีการทำ MOU ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกันและมีการแลกเปลี่ยนคณาจารย์ระหว่างกันหลายครั้ง ตลอดจนมีการส่งอาจารย์จาก Hong Bang University มาเรียนหลักสูตรปริญญาเอกของคณะรัฐประศาสนศาสตร์หลายคน
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง University of Potsdam ประเทศเยอรมันนี กับคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งให้มีการทำ MOU ควมร่วมมือทางวิชาการระหว่างกัน และมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และอาจารย์ระหว่างกัน 2 ครั้งในปี พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง Victoria University of Wellington ประเทศ New Zealand กับ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่งให้มีการทำ MOU ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกัน และมีการทำหลักสูตร double degree ร่วมกัน ในปี พ.ศ. 2557
  • ริเริ่มความร่วมมือทางวิชาการกับ Korean Association of Public Administration (KAPA) ส่งผลทำให้มีการทำ MOU ร่วมกันและมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย์ในปี พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการกับ National Development Institute of Mongolia ส่งผลทำให้มีการทำ MOU และมีแผนในการทำวิจัยร่วมกันในปี 2558
  • ริเริ่มโครงการความร่วมมือทางวิชาการกับ Victoria University of Wellington ประเทศนิวซีแลนด์ ส่งผลทำให้มีการทำ MOU และมีการจัดทำ Dual degree กับหลักสูตรปริญญาเอกของคณะรัฐประศาสนศาสตร์
เลขานุการ

นางกัลญา ชมวงษ์
โทร: 0-2727-3872
อีเมล: laya_chomvong@hotmail.com

แก้ไขล่าสุดเมื่อ