คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |

ประวัติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์
อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

อีเมล: chumphol.aun@nida.ac.th, Chumphol.aun@hotmail.com
เบอร์โทร: 0 2727 3890
โทรสาร:
0 2375 9164

เลขานุการ
นางศุภวรรณ บุญยงค์
อีเมล supawan@nida.ac.th
โทรศัพท์ 0 2727 3918

 

  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัสเซียศึกษา) เกียรตินิยมอันดับสอง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • Ph.D., Graduate School of Integrated Sciences forGlobal Society, Kyushu University, Japan
  • ผู้อำนวยการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ ศูนย์การศึกษาสุราฎร์ธานี (2564-ปัจจุบัน) 
  • อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (2563-ปัจจุบัน)
  • อาจารย์ประจำสาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี พ.ศ. 2555-2558
  • อาจารย์พิเศษ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยบรรยายในวิชา การเมืองของนโยบายพลังงาน (2555-2557)
  • การเมืองและนโยบายพลังงาน (Energy Politics and Policy)
  • การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะโดยการตีความ (Interpretive Policy Analysis)
  • ประชาธิปไตยและการกระจายอำนาจ (Democracy and decentralization)

ผลงานวิจัย

  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2555. การศึกษาการกระจายอำนาจในรูปแบบจังหวัดจัดการตนเอง. ได้รับทุนจากคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2556. โครงการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในวาระแก้ไขรัฐธรรมนูญ: ศึกษาประเด็นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น. ได้รับทุนจากสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และมูลนิธิเอเชีย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์ และ วัชรพล ยงวณิชย์. 2558. การประเมินพื้นที่ต้นแบบด้านจังหวัดจัดการตนเอง: พื้นที่จังหวัดชลบุรี. ได้รับทุนสนับสนุนจากสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า.

ผลงานวิจัยร่วม

  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2553. การประเมินหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล ทับจุมพล. ได้รับทุนจากศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2554. Human Security of Burmese Migration หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล ทับจุมพล. ได้รับทุนจากศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์.  2554. นโยบายการลงทุนทางตรงของไทยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: จากมิติความมั่นคงมนุษย์ถึงความร่วมมือนานาชาติ หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล ทับจุมพล ได้รับทุนจากศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2555. โครงการวิจัยชุมชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางสังคมในกรุงเทพมหานคร: กลุ่มธนบุรีใต้. ร่วมกับสาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี. ได้รับทุนจากกรุงเทพมหานคร.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์.  2555. Environmental Assessment Road Linking Dawei- Phu Nam Ron Project ในมิติโครงสร้างสถาบันและนโยบาย ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ หัวหน้าโครงการศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ. ได้รับทุนจาก ได้รับทุนจากศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2554-2558. การสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ผ่านเว็บไซต์และ Social Media โดยรับผิดชอบด้านรัฐศาสตร์กับประเด็นพลังงาน ร่วมกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ หัวหน้าโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร. สุพิชชา จันทรโยธา. ได้รับทุนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2559. กฎหมายของประเทศมาเลเซียและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสังคม วัฒนธรรม การเมือง และความมั่นคงของประเทศมาเลเซีย โดยรับผิดชอบเนื้อหาด้านการเมืองและสังคม หัวหน้าโครงการ  อาจารย์มัธยะ ยุวมิตร. ได้รับทุนจากคณะกรรมการกฤษฎีกา.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. 2558- 2561. แนวทางที่ดีที่สุดในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางนิวเคลียร์สำหรับโรงเรียนและสังคมไทยและการจัดทำแผนที่สมรรถนะของการศึกษาด้านนิวเคลียร์ของประเทศไทย หัวหน้าโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร. สุพิชชา จันทรโยธา. ได้รับทุนจาก International Atomic Energy Agency.

ผลงานทางวิชาการ      

  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. ความถดถอยทางประชาธิปไตยภายใต้รัฐบาลทักษิณและปูติน: ความท้าทายต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2554.
  • Chumphol Aunphattanasilp. From Liberalization to Renationalization: Ideational Power in Shifting Thailand’s Energy Policies (1987—2018). A dissertation of Graduate School of Integrated Sciences for Global Society, Kyushu University, Japan. 2019.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. คลื่นลูกที่สองของการกระจายอำนาจ: จังหวัดจัดการตนเองและนครแม่สอด. นครปฐม: มูลนิธิเอเชียและ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. 2556.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์ และ วัชรพล ยงวณิชย์. การกระจายอำนาจในรูปแบบจังหวัดจัดการตนเอง และการรับรู้ทางประชาธิปไตย ความขัดแย้ง และการเจรจาต่อรอง : กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี. วารสารมนุษย์และสังคม 1 (1): 2559.
  • Chumphol Aunphattanasilp. 2018. From decentralization to re-nationalization: Energy policy networks and energy agenda setting in Thailand (1987–2017). Energy Policy 120: 593-599.
  • Chumphol Aunphattanasilp. 2019. Civil society coalitions, power relations, and socio-political ideas: Discourse creation and redesigning energy policies and actor networks in Thailand. Energy Research & Social Science 58.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. ความถดถอยทางประชาธิปไตยภายใต้รัฐบาลทักษิณและปูติน: ความท้าทายต่อกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2554.
  • Chumphol Aunphattanasilp. From Liberalization to Renationalization: Ideational Power in Shifting Thailand’s Energy Policies (1987—2018). A dissertation of Graduate School of Integrated Sciences for Global Society, Kyushu University, Japan. 2019.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์. คลื่นลูกที่สองของการกระจายอำนาจ: จังหวัดจัดการตนเองและนครแม่สอด. นครปฐม: มูลนิธิเอเชียและ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. 2556.
  • ชุมพล อุ่นพัฒนาศิลป์ และ วัชรพล ยงวณิชย์. การกระจายอำนาจในรูปแบบจังหวัดจัดการตนเอง และการรับรู้ทางประชาธิปไตย ความขัดแย้ง และการเจรจาต่อรอง : กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี. วารสารมนุษย์และสังคม 1 (1): 2559.
  • Chumphol Aunphattanasilp. 2018. From decentralization to re-nationalization: Energy policy networks and energy agenda setting in Thailand (1987–2017). Energy Policy 120: 593-599.
  • Chumphol Aunphattanasilp. 2019. Civil society coalitions, power relations, and socio-political ideas: Discourse creation and redesigning energy policies and actor networks in Thailand. Energy Research & Social Science 58.

การอบรมและดูงาน

  • Executive Seminar for Policy Debate by Kyushu-GRIPS-Hiroshima University
  • Workshop and Fieldwork on Multicultural Coexistence and Inbound Tourism Policy Recommendation in Takeo City, Japan

การประชุมทางวิชาการ

  • Aunphattanasilp Chumphol, From Decentralized Energy to Re-nationalization: A Transitions of Energy Policy Rhetoric in Thailand (1987- 2017), A presentation in the international conference of “Public Administration in an Era of Change and Transformation”, National Institute of Development Administration, Bangkok, Thailand, July 5, 2018 (Oral presentation).
  • Chumphol Aunphattanasilp, Going beyond environmental sustainability and health security: Energy policy discourses and the movement networks in Thailand (1987-2017), A presentation in the World Social Science Forum 2018, International Social Science Council, Fukuoka, Japan, September 25-28, 2018 (Poster presentation).
  • Chumphol Aunphattanasilp, Re-nationalization: Energy  Policies, Rhetoric, and Actor Network in Thailand under the 2014 Military Government, A presentation in the Program of the 100th Conference Japan Society for Southeast Asian Studies, University of Tokyo, Japan, December 1-2, 2018 (Oral presentation).
  • Chumphol Aunphattanasilp, Politicization of Energy: Discursive Strategies of Social Movements in Thailand (1987-2017), A presentation in the Kyushu University Energy Week 2019, Kyushu University, Japan, January 28, 2019 (Poster presentation).
  • Chumphol Aunphattanasilp, Re-nationalization: Energy Policies and Rhetoric in Thailand under the 2014 Military Government, A presentation in the Association for Asian Studies in Asia 2019 Annual Conference, The Royal Orchid Sheraton Hotel, Bangkok, Thailand, July 1-3, 2019 (Oral presentation).
  • ทุนผู้ช่วยสอนและผู้ช่วยวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2552-2553
  • ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ของสถาบันพระปกเกล้า ประจำปี 2552
  • ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น (MEXT) ประจำปี 2015
  • ทุนผู้ช่วยวิจัยของมหาวิทยาลัยคิวชู ประจำปี 2018
  • ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก Research scholarship from Kyushu University Platform of Inter/Transdisciplinary Energy Research Support Program for Young Researchers and Doctoral Students, 2018.