คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |

คณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์

รศ. ดร.พลอย สืบวิเศษ

ประวัติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนันดา จันทร์สุกรี
อาจารย์ประจำคณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

อีเมล: pananda.c@gmail.com
เบอร์โทร:  0 2727 3890
โทรสาร:
0 2375 9164

เลขานุการ
นางสาวชนิกานต์ อร่ามเธียรธำรง
อีเมล: chanikarn.ara@nida.ac.th
โทรศัพท์: 02 727 3701

  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตการบริหารการพัฒนา (หลักสูตรนานาชาติ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • Master of International Business The University of Sydney, Australia
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อาจารย์ประจำวิชา รศ. 8900 การศึกษาตามแนวแนะ: รัฐบาลดิจิทัลและนวัตกรรมการบริการภาครัฐ ซึ่งเป็นวิชาเลือกของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (พ.ศ. 2560)
  • บรรยายหัวข้อ “ประสบการณ์การทำวิจัยและข้อควรคำนึงต่าง ๆ” สำหรับนักศึกษาวิชา รศ. 6600 ระเบียบวิธีวิจัย หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาคปกติ กรุงเทพมหานคร คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • บรรยายหัวข้อ “การจัดทำรายงานการค้นคว้าอิสระ” สำหรับนักศึกษาวิชา รอ. 9000 การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ จังหวัดชลบุรี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • บรรยายหัวข้อ “โครงการ NIDA Smart City” วิชาสัมมนาการจัดการเพื่อการพัฒนา หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ (หลักสูตรนานาชาติ) วิทยาลัยนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • อาจารย์พิเศษ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (วิชานโยบายสาธารณะ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต)
  • อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต (วิชา Interest and Pressure Groups หลักสูตร International Political Economy and Development)
  • อาจารย์พิเศษ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (วิชา International Business หลักสูตร Bachelor of Business Administration)
  • อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ จังหวัดพิษณุโลก
  • อาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ จังหวัดชลบุรี
  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิชา รศ. 9000 การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตภาคพิเศษ จังหวัดพิษณุโลก รุ่นที่ 15
  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิชา รอ. 9000 การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ จังหวัดชลบุรี รุ่นที่ 4-5
  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิชา รศ. 9000 การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ กรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 29-30
  • อาจารย์ที่ปรึกษาวิชา รอ. 9000 การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต ภาคพิเศษ กรุงเทพมหานคร รุ่นที่ 20
  • ที่ปรึกษากลุ่ม หลักสูตร “นักบริหารการพัฒนาในยุคดิจิทัล (DAD)” รุ่นที่ 1-4 ซึ่งจัดโดยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประสบการณ์การบริการวิชาการภายนอกสถาบัน

    • คณะทำงานปรับปรุงมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
    • ผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นเกี่ยวกับการสำรวจความพร้อมรัฐบาลดิจิทัล ประจำปี พ.ศ. 2563 ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
    • วิทยากรหลักสูตรนักบริหารการงบประมาณระดับกลาง (นงก.) รุ่นที่ 1-2 (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-2562) ซึ่งจัดโดยสำนักงบประมาณ
    • ที่ปรึกษาโครงการ Policy Lab ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
    • วิทยากรกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หัวข้อ “แนวคิดและประสบการณ์การเป็นที่ปรึกษาโครงการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐ” ซึ่งจัดโดยคณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2562
    • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) เพื่อลงตีพิมพ์ใน Journal of Nutrition Education and Behavior (Q2) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูลสากล SCImago (Q2)
  • นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
  • การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
  • รัฐบาลดิจิทัล (Digital Government)
  • นวัตกรรมการบริการภาครัฐ (Public Service Innovation)
  • ความเหลื่อมล้ำทางสังคม (Social Inequalities)
  • คุณภาพชีวิตและสุขภาวะ/ความอยู่ดีมีสุข (Quality of Life and Well-being)

บทความวิจัย

  • Sagarik, D., & Chansukree, P. 2018. The Impact of Socio-Economic, Institutional, and Climate Change Factors on Agricultural Income and Expenditure of Thai Farmers. Thai Journal of Public Administration. 16(2): 57-85.
  • Sagarik, D., Chansukree, P., Cho, W., & Berman, E. 2018. E-government 4.0 in Thailand: The Role of Central Agencies. Information Polity. 23(3): 343-353.
  • Chansukree, P., & Rungjindarat, N. 2017. Social Cognitive Determinants of Healthy Eating Behaviors in Late Adolescents: A Gender Perspective. Journal of Nutrition Education and Behavior. 49(3): 204-210.
  • Chansukree, P. 2013. Politico-Economic Institutions and Economic Performance: Evidence from East Asia and Latin America, 1990-2009. European Journal of Social Sciences. 41(1): 64-80.
  • Chansukree, P. 2013. The Success and Failure of E-Government in Developing Countries: Lessons and Recommendations for Thailand. Journal of Public and Private Management. 20(2): 69-113.
  • Chansukree, P. 2012. Democracy, Governance, and Income Inequality: Evidence from Developing Countries, 1990-2009. Paper presented in the International Conference on Advancement of Development Administration 2011, Bangkok, Thailand, 8-10 March 2012.
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การสำรวจความคิดเห็นของภาคเอกชนในพื้นที่จังหวัดระยองต่อการพัฒนาระบบ PRTR ของประเทศไทย” ซึ่งได้รับงบประมาณจากมูลนิธิบูรณะนิเวศ (พ.ศ. 2556)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การสำรวจความคิดเห็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต่อการพัฒนามาตรฐานบังคับปริมาณสารตะกั่วในผลิตภัณฑ์สีทาอาคาร” ซึ่งได้รับงบประมาณจากมูลนิธิบูรณะนิเวศ (พ.ศ. 2557)
  • หัวหน้าโครงการวิจัยร่วม เรื่อง “การวัดภาพลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยว: การวิเคราะห์เขตการท่องเที่ยวของประเทศไทยจากการรับรู้ของนักท่องเที่ยวชาวไทย” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (พ.ศ. 2556-2557)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของสถาบันการเมืองและสถาบันเศรษฐกิจต่อการใช้จ่ายด้านสวัสดิการ: กรณีศึกษากลุ่มประเทศอาเซียน (พ.ศ. 2542-2555)” ซึ่งได้รับงบประมาณจากงบเงินอุดหนุนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (พ.ศ. 2557-2558)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการความรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาชุมชนในกลุ่มท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ำภาคกลาง” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (พ.ศ. 2557-2558)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การวิเคราะห์พฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพของวัยรุ่นตอนปลายโดยใช้ตัวชี้วัดทางปัญญาสังคม: กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งได้รับงบประมาณจากแผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (FHP) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2558)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาเกาะเกร็ด และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียน” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (พ.ศ. 2558-2559)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “ความเหลื่อมล้ำด้านการเข้าถึงบริการสาธารณสุขในประเทศไทย: กรณีศึกษาผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (พ.ศ. 2558-2559)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “ความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย: การวิเคราะห์การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและการเลือกสาขาวิชา” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (พ.ศ. 2559-2560)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อภาวะเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (พ.ศ. 2559-2560)
  • ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย เรื่อง “การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างชาญฉลาดสำหรับผู้สูงอายุไทย: รูปแบบการบูรณาการสำหรับสังคมผู้สูงอายุ” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (พ.ศ. 2560-2562)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “สภาพแวดล้อมทางอาหารภายในมหาวิทยาลัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพของนักศึกษาไทย” ซึ่งได้รับงบประมาณจากแผนงานวิจัยนโยบายอาหารและโภชนาการ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (FHP) สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2561-2562)
  • หัวหน้าโครงการ “ระบบการรายงานผลและติดตามการดำเนินการของศูนย์ดำรงธรรม” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานวัตกรรมงานบริการภาครัฐ (Government Innovation Lab) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) (พ.ศ. 2561)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การสำรวจมาตรฐานคุณภาพชีวิตคนพิการ: กรณีศึกษา Smile City 6 จังหวัด” ซึ่งได้รับงบประมาณจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ศ. 2562)
  • หัวหน้าโครงการ “การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานวัตกรรมงานบริการภาครัฐ (Government Innovation Lab) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) (พ.ศ.​ 2562)
  • หัวหน้าโครงการวิจัยร่วม เรื่อง “การฟื้นฟูตลาดเก่าแก่งคอยเพื่อการก้าวสู่เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (พ.ศ. 2562-2563)
  • หัวหน้าโครงการ “การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด” “การส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ” และ “เกษตรปลอดภัย” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนานวัตกรรมงานบริการภาครัฐ (Government Innovation Lab) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) (พ.ศ. 2563)
  • หัวหน้าโครงการฝึกอบรมผู้สูงอายุ “หลักสูตรเสริมสร้างทักษะที่หลากหลายของผู้สูงอายุ” (Senior Empowerment Program: SEP) ซึ่งได้รับงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (พ.ศ. 2563)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง “การส่งเสริมการยอมรับการใช้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ” ซึ่งได้รับงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (พ.ศ. 2563)
  • หัวหน้าโครงการ “พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพชีวิตคนพิการ และแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเฉพาะบุคคล” ซึ่งได้รับงบประมาณจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ศ. 2563)

นักวิชาการรับเชิญ School of Public and Environmental Affairs, Indiana University Bloomington (มกราคม-พฤษภาคม 2554)